top of page

TALKS & BOOKS

พูดคุยพบปะนักเขียน

วันเสาร์ที่ 1 ก.พ.

เสวนา 1 / มิวเซียมสยามตึกใหม่

13:30 - 14:30

โลกร้อนแล้วไง?

นันทิชา โอเจริญชัย

ผู้ก่อตั้ง Climate Strike Thailand

พญ.สนาธร รัตนภูมิภิญโญ
พญ.วีรยา มานามวีรสิทธิ์ 

จากเพจ Too Young to Die

ดำเนินรายการโดย ธัญญารัตน์ ดอกสน

รับฟังมุมมองของเยาวชนคนรุ่นใหม่กับการรณรงค์ เพื่อแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลก ปัญหาที่ทุกคน ทุกวัย ในทุกๆ สังคมต้องเผชิญ แต่กลับไม่ได้รับความร่วมมือจากภาครัฐและผู้นำระดับโลกมากเท่าที่ควร พุดคุยเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของเยาวชนทั่วโลก เพื่อรักษาอนาคตของพวกเขา และการปรับตัวรับมือกับภาวะโลกร้อนที่เราทุกคนสามารถทำได้

Lynn_2.JPG
Sanathorn_Weeraya_Too Young To Die.JPG

15:00 - 16:00

Inching Towards Equity: Schools, Education and LGBTQI Realities (ENGLISH)

Chonchanok Phonsing

Museum Siam's Curator 

Joao Valerio

LGBTI Activist

Kevin Colleary

Professor and Textbook Author  

Kwan Ross

Clinical Psychologist and founder of Little Sprouts and Little Explorers  

Moderated by Prempreeda Pramoj Na Ayutthaya

Vice President of the Rainbow Sky Association of Thailand and representative of “Be Visible Asia” Project.

วงเสวนาที่ประกอบด้วยวิทยากรจากหลากหลายวงการที่จะมาสนทนากันถึงความท้าทายและผลการทำงานในการนำเสนอประเเด็นความหลากหลายทางเพศในห้องเรียนทั้งในระดับประถมศึกษาไปจนถึงระดับมหาวิทยาลัย พูดคุยถึงความพยายามที่จะหยุดการเพิกเฉยของหน่วยงานการศึกษาในการให้ความรู้เด็กและเยาวชนถึงความหลากหลายทางเพศให้ตรงกับความเป็นจริงที่พบเจอในสังคม

Chonchanok.jpg
Joao.JPG
Kevin.jpg
Kwan.jpg
Prempreeda.jpg

16:30 - 17:30

Recalibrating Asia’s 21st century power dynamics (ENGLISH)

Frank Dikotter

Chair Professor of Humanities at the University of Hong Kong and Author  

Peter Frankopan

Professor of Global History at Oxford University and Author

Nigel Gould-Davies

incoming senior fellow for Russia/Eurasia at the International Institute of Strategic Studies in London and author

Moderated by Gwen Robinson

Editor-at-large of the Nikkei Asian Review and FCCT President

สงครามภูมิรัฐศาสตร์ในเอเชียกำลังเปลี่ยนไป การแข่งขันระหว่างจีน- อเมริกันกำลังทวีความรุนแรงมากขึ้นและรัสเซียกำลังจะ "หันสู่เอเชีย" มีการแข่งขันอย่างรุนแรงเพื่อแย่งชิงอิทธิพลซึ่งไม่เพียงแต่เกิดขึ้นกับสินทรัพย์ทางการทหารเท่านั้น แต่ยังเพิ่มขึ้นทางระบบโครงสร้างพื้นฐาน ความช่วยเหลือและการพัฒนาด้านเงินทุน ด้วยวิสัยทัศน์คู่แข่งของโครงการ Belt and Road Initiative ของจีนและ  Free and Open Indo-Pacific นำโดยสหรัฐอเมริกา ท่ามกลางความขัดแย้งทางการค้าที่เพิ่มขึ้น ความกังวลด้านความมั่นคง และความตึงเครียดทางเศรษฐกิจ ประเทศขนาดเล็กและกลางในภูมิภาคนี้ต้องเผชิญกับทางเลือกใหม่ สถานการณ์ที่ซับซ้อนนี้จะพัฒนาและให้ความสมดุลของอิทธิพลระหว่างพลังอันยิ่งใหญ่และตัวละครอื่นในภูมิภาคนี้ได้อย่างไร

Frank Dikotter.jpg
Peter Frankopan.jpg
Nigel-Gould-Davies2.png
Gwen Robinson.jpeg

18:00 - 19:00

How to be a Dictator: The Cult of Personalities in the Twentieth Century (ENGLISH)

Frank Dikotter,

Chair Professor of Humanities at the University of Hong Kong and Author  

บรรดาจอมเผด็จการเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็น มุสโสลินี ฮิตเลอร์ สตาลิน เหมาเจ๋อตุง คิมอิลซุง ดูวาเลียร์แห่งเฮติ นิโคไล เชาเชสกูแห่งโรเมเนียและเมงกีสตู เฮล เมเรียมแห่งเอธิโอเปีย มีอะไรที่คล้ายๆ กันบ้าง เมื่อยังเด็กพวกเขามักเกิดมาในความสับสนและผิดหวัง มีความปรารถนาให้คนเคารพนับถือและชื่นชม แต่โดยมากจะไร้เพื่อน เดียวดาย และมีความหวาดระแวง ในศตวรรษที่ยี่สิบ เทคโนโลยีสมัยใหม่ได้นำผู้นำเหล่านี้เข้าถึง บ้านช่องผู้คนได้โดยตรง พวกผู้นำเผด็จการจึงได้ใช้ลัทธิมนุษยสัมพันธ์เพื่อสร้างภาพลวงตา ของการได้รับประชานิยมโดยไม่ต้องมีการเลือกตั้ง จากการใช้ภาพรวมในการค้นคว้าเอกสารและการวิเคราะห์เชิงลึกตามแบบของเขา Frank Dikötter ผู้ได้รับรางวัลซามูเอล จอห์นสัน ได้นำเสนอภาพระบอบเผด็จการอย่างน่าสนใจ ได้อธิบายวิธีการสร้างแนวทางของลัทธิบุคลิกภาพ และ ได้แสดงถึงผังภูมิที่พวกเผด็จการใช้หลอกล่อประชาชนเพื่อก่อและรักษาระบอบการปกครองของตนไว้

Frank Dikotter.jpg

เสวนา 2 / มิวเซียมสยามตึกเก่า

13:30 - 14:30

Mekong Downstream Blues (ENGLISH)

Carl Middleton

Director of Center of Social Development Studies, Chulalongkorn University

Pianporn Pianporn Deetes

Thailand and Burma Campaigns Director at International River

Sean Chadwell

Executive Director of Luang Prabang Film Festival 

Moderated by Jonathan Head

Southeast Asia Correspondent for the BBC

แม่น้ำโขงซึ่งมีต้นน้ำอยู่ในประเทศจีนนั้นมีความยาว 4,350 กม. และเป็นแม่น้ำอันดับที่ 12 ของโลก การปฏิบัติแบบที่ไม่ยั่งยืนในปัจจุบันเป็นภัยคุกคามต่อสภาพสิ่งแวดล้อมที่รุนแรงต่อการดำรงชีวิตของผู้คนหลายสิบล้านคนในประเทศปลายน้ำ โครงการสร้างเขื่อนขนาดใหญ่อย่างไร้การควบคุมในแม่น้ำโขงตอนบนนี้ นอกเหนือจากการเกิดการอุดตัน 90% ของการไหลของตะกอน ที่จำเป็นสำหรับการเกษตร ยังมีอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ที่ปล่อยก๊าซมีเทนจากพืชที่เน่าเปื่อยอีกด้วย จีนมีปัญหาการขาดแคลนน้ำในประเทศและไม่ลังเลที่จะสกัดกั้นน้ำในแม่น้ำโขงโดยไม่คำนึงถึงประเทศท้ายน้ำเลย นอกจากนี้ คาดว่า มีเขื่อนที่วางแผนสร้างอีกหลายแห่งที่จะขัดขวางการย้ายถิ่นของปลา ซึ่งจะทำให้การประมงลดลงถึง 50-60% และเป็นการขจัดแหล่งที่มาหลักของโปรตีนในกัมพูชาและเวียดนามด้วย

Screen Shot 2020-01-30 at 10.16.29 PM.pn
PaiDeetes.ASHOKA.jpeg
Sean Chadwell (LPFF Executive Director).
Jonathan Head.jpg

15:00 - 16:00

2020 : ศักราชแห่งพื้นที่สาธารณะ (ทำมือ) ในกรุงเทพฯ 

โดย ผศ. ดร.นิรมล เสรีสกุล

ผู้อำนวยการศูนย์ออกแบบและพัฒนาเมือง (UddC-CESU)

ใครว่า กรุงเทพฯ เป็นเมืองที่ไร้โอกาสเพิ่มพื้นที่สีเขียว? ต้นปี2020  ย่านประวัติศาสตร์สองฝั่ง

แม่น้ำเจ้าพระยาของกรุงเทพฯ จะถูกเชื่อมต่อด้วยพื้นที่สีเขียวลอยฟ้าในนาม “พระปกเกล้าฯ สกายปาร์ค” เปิดโอกาสให้คนเมืองได้เดินเชื่อมต่อฝั่งพระนครกับฝั่งธนบุรี ด้วยพื้นที่สาธารณะจาก การฟื้นฟูโครงสร้างรถไฟฟ้าทิ้งร้าง ซึ่งไม่ถูกใช้ประโยชน์มากว่า 30 ปี 
 

พระปกเกล้าฯ สกายปาร์ค ภายใต้ความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐ ท้องถิ่น ภาควิชาการ ภาควิชาชีพ และชุมชน เป็นโครงการเมืองที่บอกพวกเราว่า แม้กรุงเทพฯ จะขาดแคลน พื้นที่สีเขียวเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ และการเชื่อมต่อ แต่ในวิกฤตยังมีโอกาสด้วย “พื้นที่สาธารณะทำมือ” 
 

ไม่เพียง พระปกเกล้าฯ สกายปาร์ค เร็วๆ นี้ กรุงเทพฯ ยังจะมี “พื้นที่สาธารณะทำมือ” อีกหลาย โครงการจากความร่วมมือของทุกภาคส่วน ที่จะเป็นปอดสร้างก๊าซออกซิเจน และเป็น เส้นเลือดฝอยเชื่อมต่อโครงข่ายพื้นที่สีเขียว  อาทิ ระเบียงธรรม 3 ศาสนา และ สะพานเขียว “Bangkok Green Bridge” 

 

เรียกได้ว่า ปี 2020 คือปีแห่ง “พื้นที่สาธารณะทำมือ” ในกรุงเทพฯ อย่างแท้จริง 

Niramon.jpg

16:30 - 17:30

What's the Cost of Your Dream Vacation? (ENGLISH)

Montonn Jira

Co-founder of Wonderfruit

Peta Bassett

Expert and author

Saisiri Xoomsai

Owners of Tongsai Bay

ใครๆ ก็มีทริปในฝัน แต่ทริปในฝันของคุณนั้นทำให้โลกใบนี้ต้องสูญเสียอะไรไปบ้าง การท่องเที่ยงอย่างยั่งยืนหรือการท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบกำลังเป็นที่สนใจ เรายังคงสามารถ มีความสุขกับการท่องเที่ยวโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อมและมนุษยชาติให้มากขึ้น วิทยากรที่ความเชี่ยวชาญในสาขาแตกต่างกันทั้งสามท่านจะมาเล่าถึงประสบการณ์ในมิติต่างๆของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนหรือการท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบ ทั้งผู้บุกเบิกธุรกิจโรงแรมสีเขียว ผู้ก่อตั้งเทศกาลที่ได้รับการรับรองเป็นเทศกาลที่มีความยั่งยืนเทศกาลแรกของประเทศไทย และนักเขียนผู้ศึกษาวิจัยโครงการท่องเที่ยวในประเทศไทยมาแล้วมากมายหลายโครงการ

Montonn_BW.jpg
Peta single.jpg
green-choosing-tongsai-bay.jpg

18:00 - 19:00

ธุรกิจเพื่อสังคม - เรื่องของความตั้งใจดีที่ต้องมี impact?

นภ พรชำนิ

ศิลปินชื่อดัง

สมศักดิ์ บุญคำ

ผู้ประกอบการเพื่อสังคมรางวัลระดับโล

ดำเนินรายการโดยภัทราพร ยาร์บะระ

ผู้ร่วมก่อตั้งและกรรมการผู้จัดการบริษัท ป่าสาละ จำกัด

ธุรกิจเพื่อสังคมได้กลายเป็นคำยอดนิยมในปัจจุบัน ผู้คนจากหลายแวดวงหันมาสนใจแก้ปัญหา สังคมและสิ่งแวดล้อมด้วยโมเดลทางธุรกิจ เพื่อหวังให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่เป็นรูปธรรมไปพร้อมๆ กับการอยู่รอดทางการเงินของธุรกิจหรือสร้างผลกำไรได้ ผู้ก่อตั้งธุรกิจเพื่อสังคมทั้งสองท่าน ได้แก่ นภ พรชำนิ ศิลปินชื่อดัง สมศักดิ์ บุญคำ ผู้ประกอบการเพื่อสังคมรางวัลระดับโลก จะร่วมสนทนา กับภัทราพร ยาร์บะระ ผู้มีประสบการณ์ในการวัดผลลัพธ์ทางสังคมของธุรกิจเพื่อสังคมหลายแห่ง ของไทย เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันว่าธุรกิจเพื่อสังคมต้องใช้องค์ประกอบ อะไรนอกจาก "ความตั้งใจดี" ที่จะช่วยสร้าง impact ให้สังคมและอยู่รอด ในทางการเงินได้จริง

วันอาทิตย์ที่ 2 ก.พ.

06.Nop-1116.jpg
6323-1.jpg
ภัทราพร.jpg

เสวนา 1 / มิวเซียมสยามตึกใหม่

13:30 - 14:30

"Where are the Women?": Closing the Gender Gap (ENGLISH)

Theresa W. Devasahayam

Author and expert on gender equality

Pavida Pananond

Associate Professor of International Business at Thammasat Business School

Moderated by Amy Sawitta Lefevre

Policy Communications Manager at Facebook

วงเสวนาที่จะวิเคราะห์สถานะของสตรีในแวดวงต่างๆ  ถึงความเท่าเทียมและตัวเลขที่มี ไม่มากนักของผู้หญิงที่อยู่ในระดับแถวหน้าในสาขาของตนเอง อะไรคือสาเหตุ และเราจะ ทำอย่างไรให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ทั้งในโลกธุรกิจ สังคมและการเมือง ที่ผู้หญิงยังไม่ได้รับ บทบาทที่จะแสดงความสามารถได้อย่างเต็มที่ เกิดเป็นคำถามที่ว่า เราจะเห็นการเปลี่ยนแปลงบทบาทสตรีในการเป็นผู้นำของวงการต่างๆ มากขึ้นหรือไม่ ในทศวรรษใหม่นี้

Theresa.jpg
PavidaPhoto.jpg
Amy Sawitta Lefevre picture.jpg

15:00 - 16:00

Book Talk -"The New Silk Road: The Present and Future of the World (ENGLISH)

Peter Frankopan

Author and Professor of Global History at Oxford University

Interviewed by Jane Purananda

หนังสือ The Silk Roads ของ Peter Frankopanนักเขียน และนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดได้นำไปแปลเป็นกว่า 50 ภาษา เป็นการถ่ายทอดประวัติศาสตร์โลกจากมุมมองนอกโลกตะวันตก หลังจากนั้นเขาก็ได้เชื่อมโยงอดีต กับ ปัจจุบัน เพื่อคาดการณ์ว่าอนาคตจะเป็นอย่างไรในหัวข้อเช่น ปัญหาโลกร้อนโรคระบาด และความรุ่งเรืองของเอเซีย

Peter Frankopan.jpg
Jane.png

16:30 - 17:30

Book Talk - Every Woman Guide's to Saving the Planet (ENGLISH)

Natalie Isaacs

Author, activist and CEO of 1 Million Women

เมื่อกล่าวถึงภาวะโลกร้อน นาตาลีเคยคิดว่าเป็นเรื่องของคนอื่นที่ไกลตัว คนเพียงคนเดียวจะสร้าง การเปลี่ยนแปลงอะไรได้ จนกระทั่งวันหนึ่งนาตาลัตัดสินใจลดการใช้กระแสไฟฟ้าไปกว่า ร้อยละ 20 และพบว่า เธอออมเงินและลดการสร้างมลภาวะได้มากขนาดไหน การกระทำเล็กๆ กลายเป็นสิ่งที่ทรงพลัง จุดประกายให้เธอลงมือทำและเปลี่ยนแปลงการใช้ชีวิต จากวันนี้นนาตาลี ไม่เคยหันหลังกลับ ในหนังสือ Every Woman's Guide to Saving the Planet นาตาลีเล่า เรื่องราวการเดินทางจากผู้ที่ไม่ได้ลงมือทำอะไรเกี่ยวกับภาวะโลกร้อนเปลี่ยนเป็นนักรณรงค์

nat-brisbane (1).jpg
Natalie's Bok.jpg
philip.sherwell.jpg

18:00 - 19:00

WORKING ON THE FRONTLINE (ENGLISH)

Philip Sherwell

Jonathan Miller, Correspondent and author of “Duterte Harry: Fire and Fury in the Philippines”

Hathairat Phaholtap

Academic and former reporter at ThaiPBS

ฟิลิป เชอร์เวลล์ ผู้คร่ำหวอดในกระแสข่าวที่มี ประสบการณ์มากว่าหลายทศวรรษ เขาจะสนทนาใน หัวข้อข่าวที่กําาลังเป็นที่สนใจในสังคม

เสวนา 2 / มิวเซียมสยามตึกเก่า

13:30 - 14:30

How to ทิ้ง?

ณภัทร พงษ์แพทย์

ผู้ประสานงาน มูลนิธิสโกลารส์ ออฟ ซัสทีแนนซ์ (เอส โอ เอส)

โดม บุญญษนุรักษ์

ซีเอ็มโอและผู้ร่วมก่อตั้ง GEPP

เมธาวรินทร์ ธนรัชต์วัฒนา

อาสาสมัคร Precious Plastic BKK

ดำเนินรายการโดย ณัฐภัค อติชาตการ

ซีอีโอ Trash Lucky

วงเสวนาจากตัวแทนของหน่วยงานสามหน่วยงานที่ทำงานอย่างขยันขันแข็งในการจัดการขยะ ทั้งขยะพลาสติก ขยะที่รีไซเคิลได้ และขยะเศษอาหาร ว่าควรมีการจัดการอย่างไร จึงจะเกิดประโยชน์สูงสุด ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงานร่วมกับชุมชน และค้นหา แนวทางในการจัดการขยะของแต่ละครัวเรือน ที่ไม่ยุ่งยากและทำได้จริง รวมทั้งรับฟังถึงแนวคิด ต่างๆ ในการแปรรูปขยะเหล่านี้ให้มีมูลค่า

Naphat_SOS.jpg
0.jpg
medhavarintr.JPG
Nattapak Atichartakarn Profile Pic.jpg

15:00 - 16:00

แฟชั่นในทศวรรษ 2020s  

ปฏิพัทธ์ ชัยภักดี

ดีไซเนอร์และเจ้าของแบรนด์ Dry Clean Only

ธมลวรรณ วิโรจน์ชัยยันต์

ผู้ร่วมก่อตั้ง Moreloop

ภัสสร์วี ตาปสนันทน์ โคะดากะ

ผู้ก่อตั้ง Folkcharm และสมาชิกกลุ่ม Fashion Revolution

ดำเนินรายการโดยมนทกานติ รังสิพราหมณกุล

ธุรกิจ Fast Fashion กำลังเผชิญกับความท้าทายอันใหญ่หลวง เพราะผู้คนเริ่มตระหนักถึงผลเสีย ต่อสิ่งแวดล้อมจากการผลิตเสื้อผ้าคุณภาพต่ำในจำนวนมาก คนเริ่มให้ความสนใจกับการนำเสื้อผ้า เก่ามาประยุกต์ การซื้อหรือแลกเสื้อผ้ามือสอง เพื่อต่ออายุให้กับเสื้อผ้าที่มีอยู่ วิทยากรที่จะมา ร่วมวงเสวนานี้นั้นมาจากสามสาขาที่เกี่ยวข้องกับวงการแฟชั่น ทั้งนักออกแบบผู้มีผลงานเป็นที่ ยอมรับระดับโลก เจ้าของโรงงานผลิตเสื้อผ้าที่หาทางออกให้กับสต็อกผ้าเก่ากลายเป็นธุรกิจ หมุนเวียน และผู้ก่อตั้งธุรกิจเพื่อสังคมที่ให้ความสนใจกับผ้าฝ้ายจากชุมชน วิทยากรทั้งสามท่าน จะมาแลกเปลี่ยนความรู้และแนวคิดเกี่ยวกับกิจการของแต่ละท่าน และพูดคุุยถึงกระแสแฟชั่นใน ปัจจุบันที่คนใส่ใจในผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น

Patipat_2.jpg
Thamonwan_Moreloop.png
Passawee.ProfilePic.jpg
c3RvcmFnZTAvNTA2OTYzLmpwZw==.jpg

16:30 - 17:30

Digital Disruption and the Media Landscape of t he 21st Century.

(ENGLISH)

Anjan Sundaram

Author and Filmmaker

Thitirat Thipsamritkul

Lecturer at Department of International Law, Faculty of Law, Thammasat University

Voranai Vanijaka

Political and social commentator, content producer and adjunct professor

Moderated by Cod Satrusayang

journalist and political commentator

ภูมิทัศน์ของสื่อในศตวรรษที่ 21 กำลังถูกคุกคาม หลายคนคิดว่า Web 2.0 จะสื่อถึงการเปลี่ยน แปลงที่สำคัญในการสื่อ อย่างไร การสร้างรายได้และส่งสัญญาณการสิ้นสุดของสื่อสิ่งพิมพ์
ทั้งหมดนี้กำลังเกิดขึ้น แต่มีเพียงไม่กี่คนที่คาดการณ์ว่า เทคโนโลยีนี้จะส่งผลกระทบต่อสื่อ ข่าวสารอย่างไร การเพิ่มขึ้นของข่าวปลอมไม่เพียงแต่จะทำให้สื่อแบบดั้งเดิมถูกคุกคาม
แต่ทำให้ระบบการเมืองทั้งระบบไม่มั่นคงอีกด้วย โซเชียลมีเดียคือ เครื่องมือที่นักการเมือง และผู้ใช้ทั่วโลกสามารถสื่อสารโดยตรงกับ สาธารณชนและข้ามสื่อแบบดั้งเดิมไปเลย
ในแง่ของการชะงักงันทางเทคโนโลยีเหล่านี้ สื่อจะควบคุมความร้อนแรงของ Web 2.0 ได้อย่างไร มันเปลี่ยนแปลงและปรับตัวอย่างไร
สื่อจะเผชิญกับปัญหาข่าวปลอมและแคมเปญการบิดเบือนข้อมูลได้อย่างไร
มีข้อกล่าวหาของสื่อว่า มันมีความล่าช้าในการปรับตัวและบทบาทของสื่อ ในฐานะด่านแรกของข้อมูลนั้นล้าสมัยหรือไม่?

18:00 - 19:00

Mekong 2030 Directors' Talk (ENGLISH)

Kulikar Sotho

Film Director

Anysay Keola

Film Director

Sai Naw Kham

Film Director

Moderated by Kong Rithdee

Columnist and Translator

วงเสวนาของเหล่าผู้กำกับภาพยนตร์ Mekhong 2030 ภาพยนตร์ซึ่งอำนวยการสร้างโดย เทศกาลภาพยนตร์หลวงพระบาง เป็นผลงานภาพยนตร์สั้นเล่าเรื่องที่พยายามสะท้อนให้เห็น สภาพของแม่น้ำโขงในอนาคตจากมุมมองที่แตกต่างทั้งสัญชาติและวัฒนธรรม ปี 2030 เป็น ช่วงเวลาของภาพยนตร์ทั้งห้าเรื่องนี้ที่จะเป็นทั้งความบันเทิงและแรงบันดาลใจให้กับผู้ชมที่จะ ลุกขึ้นมาปกป้องสายน้ำแห่งชีวิตที่กำลังเข้าขั้นวิกฤต ผู้กำกับภาพยนตร์นจะมาเล่าถึงแนวคิดที่อยู่ เบื้องหลังงานของตนและข้อคิดที่พวกเขาต้องการสื่อสารกับผู้ชม ภาพยนตร์ Mekhong 2030 จะฉายหลังจากกิจกรรมเสวนาที่บริเวณจอภาพยนตร์กลางแจ้งของเทศกาลด้วย 

P13Anjan Sundaram.JPG
c63f9ea0457011e5940d650ddafb614d_content
Thitirat.jpg
10553382_10203469699916539_8148059234017
Mekong 2030 Image.png
Sai Naw Kham - Headshot.jpg
Anysay Keola.JPG
Kulikar Sotho.jpg
bottom of page